CE-AIoT Project 2024
นายวิชยา ผลธนอนันต์, ว่าที่ร้อยตรีสนั่น โรจนกูร, และ นายสหรัฐ คงศิริ
ตัวอย่างเล่มโครงงาน
ABSTRACT
ด้วยจำนวนผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน ส่งผลต่อภาระงานการให้บริการของบุคคลากรทางการแพทย์ ของโรงพยาบาล ทีมผู้พัฒนาจึงมีแนวคิดในการพัฒนาระบบเฝ้าติดตาม ตรวจจับปริมาณน้ำเกลือและควบคุมอัตโนมัติแบบ IoT ซึ่งมีความสามารถมากกว่าระบบเดิมที่เป็นแบบทำงานเดี่ยว ไม่สามารถเฝ้าติดตามแบบออนไลน์ ผ่านอุปกรณ์ระยะไกลได้ การออกแบบและพัฒนาระบบเฝ้าติดตามและควบคุมอัตโนมัติการให้น้ำเกลือด้วย IoT นี้ใช้เซนเซอร์วัดน้ำหนักหรือ (Load cell) ในติดตามและตรวจวัดปริมาณน้ำเกลือ ทำงานร่วมกับ มอเตอร์เซอร์โว (Servo Motor) เพื่อควบคุมการไหลของน้ำเกลือ ประมวลผลด้วยบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP8266 และสื่อสารผ่านเครือข่ายไวไฟ ไร้สายไปยังไฟร์เบส (Firebase) มองโกดีบี (MongoDB) และ เน็ตพาย (NETPIE) ซึ่งเป็นระบบการประมวลผลคลาวด์ (Could Computing) ด้วยภาษา Python และ Dart ในการพัฒนาทำให้สามารถเฝ้าติดตามปริมาณน้ำเกลือผู้ป่วยแต่ละเตียง และทำการเก็บข้อมูลลงในฐานข้อมูลเพื่อแสดงผลผ่านเว็บเบราว์เซอร์ และโมบายแอพพลิเคชั่น
For our artifact is the system that can monitoring and controlling the saline feeding in a patient.
Usually, the nurse needs to work around the ward and visit any patient beds to monitor and control the saline feeding process.
Our product and system can support and make convenience for a nurse when they have a lot of duties.
We use the IoT technology that supports the intercommunication between any devices to support them.
They do not need to walk around, stay on board, then monitor and control via our online and mobile applications.
Our development is advantageous to reduce nurse jobs.
เกียรติบัตร
วันนักประดิษฐ์ ประจำปี 2563 (Thailand Inventors' Day 2020)
รอบชิงชนะเลิศ
มหกรรมประกวดเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 19
The Nineteenth Thailand IT Contest Festival 2020 (เนื่องจาก COVID 19)
Computer Engineering [CPE02]
นายวัชรพล วีระบริรักษ์
นายณัฐวุฒิ ไชยมั่น
นายจงกฤตเมธ เปรมภัทรานิธิ
นายกฤตติพร นิ่มนวล